วันอังคารที่ 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

13 Basic sentence patterns


13 Basic sentence patterns

1.Intransitives
โครงสร้างประโยค : NP + VI + (Adv, M, P, T)
Intransitive Verb คือ "อกรรมกริยา" ได้แก่ "กริยาที่ไม่ต้องมีกรรมตามมา หรือมีกรรมมารองรับ เพราะมีเนื้อความสมบูรณ์อยู่ในตัวอยู่แล้ว" กริยาต่อไปนี้จัดอยู่ในประเภทอกรรมกริยาคือ

go ไป

run วิ่ง

sleep หลับ

dance เต้นรำ

stay พัก,อยู่

come มา

fly บิน

light ส่องแสง,จุด

regret เสียใจ

sit นั่ง

stand ยืน

exhale หายใจออก
ตัวอย่างเช่น :
          - Chaiwit looks unhappy. (ไชยวิทญ์ดูท่าไม่สบาย)
          - Monthakarn dances very well. (มณฑกานต์เต้นรำได้ดีมาก)


2.Subject Complement - Adjective
โครงสร้างประโยค : NP + Be/ Lv + Adj + (Adv, P, T)
Subject Complement หมายถึง ส่วนขยายประธาน
Adjective คำคุณศัพท์ เป็นคำที่อธิบายถึง ลักษณะ ขนาด สี ของบุคคล สัตว์ และสิ่งของต่างๆ เช่นbig, small, sad, happy, red, hungry, good เป็นต้น

ตัวอย่างเช่น :
          - Amonrat is beautiful. (อมรรัตน์เป็นคนสวย)
          - Sukin is a good man. (สุคินเป็นคนดี)


3.Subject Complement - Nounโครงสร้างประโยค : NP(1) + Be/ Lv + NP(1) + (Adv, P, T)
Subject Complement หมายถึง ส่วนขยายประธาน
Nouns (คำนาม) หมายถึง คำที่ใช้เรียกคน สัตว์ สิ่งต่างๆ สถานที่ คุณสมบัติ สภาพ อาการ การกระทำ ความคิด ความรู้สึก ทั้งที่มีรูปร่างให้มองเห็น และไม่มีรูปร่าง
ตัวอย่างเช่น :
          - Sukin is a student. (สุคินเป็นนักเรียน)
          - Amonrat is a teacher. (อมรรัตน์เป็นคุณครู)

4.Subject Complement - Adverb
โครงสร้างประโยค : NP + Be+ Adv + ( P, T)
Subject Complement หมายถึง ส่วนขยายประธาน
Adverb คือ คำกริยาวิเศษณ์ ทำหน้าที่ขยายคำกริยา, คำคุณศัพท์, และคำกริยาวิเศษณ์

ตัวอย่างเช่น :
          - Sukin meeting is at Kosa hotel. (สุคินกำลังประชุมที่โรงแรมโฆษะโฮเทล)
          - Sukin is eating in the cafeteria. (สุคินกำลังรับประทานอาหารในโรงอาหาร)

5.Direc Object
โครงสร้างประโยค : NP(1) + VT + NP(2) + ( .....)
Direct Object คือกรรมตรงของกริยาที่ต้องการกรรม (Transitive Verb) จะเรียกว่ากรรมตรงของประโยคก็ได้ โดยปกติแล้วกรรมตรงจะถูกวางไว้หลังกรรมรอง (Indirect Object)
ตัวอย่างเช่น :
          - Monthakarn sent me a letter. (มณฑกานต์ได้ส่งจดหมายมาถึงฉันฉบับหนึ่ง)
                (a letter เป็นกรรมตรงของกริยา sent และวางไว้หลังกรรมรอง คือ me)

          -  Monthakarn told me the story. (มณฑกานต์ได้เล่าเรื่องหนึ่งให้ฉันฟัง)

6.Indirect Object
โครงสร้างประโยค : NP(1) + VT + NP(2) + NP(3) + Adv
 Indirect Object คือกรรมรองของกริยาที่ต้องการกรรม (Transitive) จะเรียกว่า กรรมรองของประโยคก็ได้ โดยปกติแล้วกรรมรองจะถูกวางไว้หน้ากรรมตรง (Direct Object) และกรรมรองมักจะเป็นคน
ตัวอย่างเช่น :
          - Monthakarn will buy me a new shirt. (มณฑกานต์จะซื้อเสื้อใหม่ให้ฉัน)
          - Sukin teaches me English. (สุคินสอนภาษาอังกฤษให้ฉัน)

7.Object Complement - Adjective
โครงสร้างประโยค : NP(1) + VT + NP(2) + Adj + (.....)
Objective complement หรือส่วนขยายกรรม ทำหน้าที่คล้ายกับ subjective complement ส่วนขยายประธาน
ตัวอย่างเช่น :
          - Sukin like coffee bitter. (สุคินชอบกาแฟรสขม)
          - Sukin talk with me voice loud class. (สุคินคุยกับฉันเสียงดังลั่นห้องเรียน)

8.Object Complement - Noun
โครงสร้างประโยค : NP(1) + VT + NP(2) + NP(2) + (.....)
Objective complement หรือส่วนขยายกรรม ทำหน้าที่คล้ายกับ subjective complement ส่วนขยายประธาน
ตัวอย่างเช่น :
          - Monthakarn consider Wanassanan a lovely. (มณฑกานต์คิดว่าวนัสนันท์น่ารักที่สุด)


          
9.Object Complement - Adverb
โครงสร้างประโยค : NP + VT + NP(2) + NP(2) + Adv
Objective complement หรือส่วนขยายกรรม ทำหน้าที่คล้ายกับ subjective complement ส่วนขยายประธาน
ตัวอย่างเช่น :
          - Sukin bought meat and eggs yesterday. ( สุคินซื้อเนื้อและไข่มาเมื่อวานนี้ )
          - Sukin clean the classrooms in the morning. (สุคินทำความสะอาดห้องเรียนในตอนเช้า)


10.Object Complement - Participle
โครงสร้างประโยค : NP(1) + VT + NP(2) + Participle
Participle คือคำกริยาที่เติม ing บ้าง หรือเป็นรูปกริยาช่อง 3 บ้าง แล้วนำมาใช้ทำหน้าที่อย่างอื่น มิได้ใช้เป็นกริยาจริง แบ่งออกเป็น  2  ชนิด
1. Present Participle คือกริยาช่องที่ 1 เติม ing แล้วนำมาใช้เป็นครึ่งกริยาครึ่งคุณศัพท์ ได้แก่คำว่า Going, walking, eating, sleeping, coming, etc.    แปลความหมายว่า ซึ่ง....., เกี่ยวกับ......, ที่ซึ่ง......, ที่ใช้........
ซึ่งมีวิธีใช้ดังนี้.

                1. เรียงตามหลัง Verb to be ทำให้ประโยคนั้นเป็น Continuous tense.
                2. เรียงไว้หน้านาม เป็นคุณศัพท์ของนามนั้น.
                3. เรียงตามหลังกริยา เป็นส่วนสมบูรณ์ของกริยา(มีสำเนียงแปลว่าน่า).
                4. เรียงตามหลังกรรมเป็นคำขยายกรรมนั้น.
2. Past Participle คือกริยาช่องที่ 3 ซึ่งอาจมีรูปมทาจากการเติม ed. ก็ได้ หรือมีรูปมาจาก การผันก็ได้ ได้แก่กริยาต่อไปนี้ Walked, slept, gone . ..etc. มีวิธีใช้ดังนี้.
               1. เรียงไว้หลัง Verb to have ทำให้ประโยคนั้นเป็น Perfect tense.
               2. เรียงตามหลัง Verb to be ทำให้ประโยคนั้นเป็นกรรมวาจก(Passive voice)ตลอดไป.
               3. เรียงไว้หน้านามเป็นคุณศัพท์ของนามนั้น.
               4. ใช้เป็นส่วนสมบูรณ์ของกริยาได้.
               5. ใช้เรียงตามหลังนามก็ได้ แต่ต้องมีบุรพบทวลีมาขยายเสมอ.
ตัวอย่างเช่น :
          - Monthakarn was a meeting yesterday. (มณฑกานต์อยู่ประชุมเมื่อวานนี้)
          - We will go shopping at the Central. (พวกเราจะไปช็อบปิ้งที่เซ็นทรัล)


11.There
โครงสร้างประโยค : There + Be + NP
ตัวอย่างเช่น :
          - There are many people in the market. (มีผู้คนมากมายในตลาด)
          - There are thieves in my house. (มีขโมยในบ้านของฉัน)

12.It - Link
โครงสร้างประโยค : It + Lv/ Be + Adj/ Adv
ตัวอย่างเช่น :
          - It is a holiday today. (วันนี้เป็นวันหยุด)
          - It was a wedding anniversary. (วันนี้เป็นวันครบรอบวันแต่งงาน)

13.It - Intrans
โครงสร้างประโยค : It + VL
ตัวอย่างเช่น :
          - It cool.
          - It is rainning now.


The End





 





           

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น